โรคและการรักษา

ศูนย์การรักษา

จัดเรียงตาม

Article Image
ตรวจเนื้อเยื่อหัวใจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า MRI 3 Tesla

การตรวจหาโรคความผิดปกติของเนื้อเยื่อหัวใจด้วยเทคโนโลยีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า Magnetic Resonance Imaging (MRI) ที่มีระดับความเข้มของสนามแม่เหล็กในระดับ 3 เทสลา (3.0 Tesla) ประกอบกับซอฟต์แวร์ที่ทันสมัย ทำให้ภาพ MRI มีความละเอียดสูง วินิจฉัยอาการผิดปกติของเนื้อเยื่อ กล้ามเนื้อหัวใจ และหลอดเลือดได้อย่างมีคุณภาพ

Article Image
อย่ารอให้โรคหัวใจถามหา ยกระดับการตรวจกับ MRI (3.0 Tesla)

ด้วยความก้าวหน้าของเครื่องตรวจคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า MRI [3.0 Tesla] นับเป็นนวัตกรรมที่ได้รับการพัฒนาเทคโนโลยีเครื่องมือตรวจหัวใจที่นอกจากตรวจหาความผิดปกติได้โดยละเอียดมากยิ่งขึ้น ยังสบายใจได้กับผลข้างเคียงจากการตรวจที่มีโอกาสเกิดขึ้นน้อยมากถึงมากที่สุด

Article Image
3 อาการเจ็บแน่นหน้าอก สัญญาณเตือนกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด

หนึ่งในอาการที่มีความสัมพันธ์กับโรคหัวใจค่อนข้างมากคือ อาการเจ็บแน่นหน้าอก ซึ่งสงสัยว่ามาจากโรคภาวะกล้ามเนื้อหัวใจได้รับเลือดไปเลี้ยงไม่เพียงพอ

Article Image
หมอแนะข้อดีการผ่าตัดบายพาสหัวใจด้วยเทคนิคหัวใจไม่หยุดเต้น (Off - Pump CABG)

การผ่าตัดบายพาสหัวใจโดยไม่ใช้เครื่องปอดและหัวใจเทียม (Off - Pump Coronary Artery Bypass Grafting) ในปัจจุบันที่ทำให้หัวใจไม่ต้องหยุดเต้น ไม่เพียงช่วยลดผลข้างเคียงที่เกิดขึ้นเมื่อหัวใจหยุดเต้น ยังช่วยให้ผู้ป่วยกลับไปมีคุณภาพชีวิตที่ดีในเร็ววัน

Article Image
เปลี่ยนลิ้นหัวใจแบบไม่ต้องเปิดหน้าอก

โรคหลอดเลือดและลิ้นหัวใจเสื่อมสภาพพบมากในผู้สูงอายุ ส่งผลให้เกิดภาวะลิ้นหัวใจตีบรุนแรง ไม่สามารถสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ได้ การเปลี่ยนลิ้นหัวใจแบบไม่ต้องผ่าตัดเปิดหน้าอกแต่ใช้สายสวน (TAVI) คือทางเลือกในการรักษาที่ช่วยให้เจ็บน้อย ฟื้นตัวเร็ว ลดความเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนได้เป็นอย่างดี

Article Image
10 กลยุทธ์ปกป้องโรคหลอดเลือดแดงใหญ่โป่งพองรับวาเลนไทน์

เมื่อวันวาเลนไทน์หรือวันแห่งความรักเวียนมาอีกครั้ง ไม่เพียงแต่การดูแลหัวใจตัวเองที่สำคัญ แต่การดูแลหัวใจคนข้าง ๆ ที่รักให้แข็งแรงก็สำคัญไม่แพ้กัน โดยเฉพาะการดูแลหัวใจให้ห่างไกลโรคหลอดเลือดแดงใหญ่โป่งพอง (Aortic Aneurysm) เป็นสิ่งที่ต้องใส่ใจเพราะเป็นหลอดเลือดที่ใหญ่ที่สุดในร่างกาย

Article Image
เช็กให้ชัวร์กับโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ

ในแต่ละปีมีผู้เสียชีวิตจากโรคหัวใจไปไม่น้อยและหนึ่งโรคหัวใจที่คนไทยเป็นกันมากคือ โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ เพราะฉะนั้นมาตรวจเช็กกันดีกว่าว่า ตัวเองหรือคนที่รักมีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคนี้มากน้อยแค่ไหน

Article Image
คุณแม่กับโรคหัวใจรูห์มาติกขณะตั้งครรภ์

ในแต่ละปีโรคลิ้นหัวใจผิดปกติเนื่องจากไข้รูห์มาติกเป็นสาเหตุการเสียชีวิตประมาณ 1.5% ของสาเหตุการเสียชีวิตทั้งหมดของคนไทย ซึ่งโรคนี้มักไม่ค่อยแสดงอาการในระยะแรก เนื่องจากเป็นผลต่อเนื่องจากการติดเชื้อ Streptococcus ตั้งแต่ในวัยเด็ก โดยเฉพาะคุณแม่ตั้งครรภ์นั้นอาจไม่สามารถรักษาทารกในครรภ์ไว้ได้

Article Image
กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน รีบรักษาทัน โอกาสรอดสูง

หากคุณกำลังทำกิจกรรมประจำวันแล้วเกิดเจ็บหน้าอกนาน แน่น หายใจไม่ออก หรือรู้สึกเจ็บหน้าอกเวลาออกกำลังกายหรือออกแรงทำกิจกรรมหนัก ๆ ที่ไม่เคยทำมาก่อน จนรู้สึกร้าวไปที่ไหล่ ใจสั่น บางรายอาจมีอาการคลื่นไส้ เหงื่อออก หัวใจเต้นแรงผิดปกติ ควรรีบพบแพทย์ในทันที เพราะถ้าถึงมือหมอไม่ทันเวลา อาจอันตรายถึงชีวิตได้

Article Image
หมอหัวใจแนะนำ ปาร์ตี้ปีใหม่แบบไหนไม่ทำร้ายหัวใจ

เมื่อถึงช่วงเทศกาลสำคัญ โดยเฉพาะปีใหม่ที่เต็มไปด้วยการเฉลิมฉลอง การปาร์ตี้สังสรรค์คือกิจกรรมที่ขาดไม่ได้ แต่การปาร์ตี้แบบที่ช่วยดูแลสุขภาพหัวใจนั้นไม่ใช่เรื่องง่าย ควรต้องใส่ใจและเลือกให้พอดีทั้งอาหารการกินและเครื่องดื่ม เพื่อจะได้สุขภาพหัวใจแข็งแรงในทุกเทศกาล

Article Image
OFF - PUMP CABG ผ่าตัดบายพาสหลอดเลือดหัวใจแบบไม่ต้องหยุดหัวใจ

ปัจจุบันการผ่าตัดรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจตีบหรือตันมีหลายทางเลือกสำหรับผู้ป่วย หนึ่งในนั้นคือการผ่าตัดบายพาสหลอดเลือดหัวใจแบบไม่ต้องหยุดหัวใจหรือการผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจโดยไม่ใช้เครื่องปอดและหัวใจเทียม (Off-Pump Coronary Artery Bypass Grafting)

Article Image
หลอดเลือดแดงใหญ่โป่ง พอง แตก ผ่าตัดแผลเล็ก ลดความเสี่ยงฟื้นเร็ว

จากสถิติในสหรัฐอเมริกาทุก ๆ ปี มีผู้เสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดแดงใหญ่โป่งพอง ประมาณ 15,000 คน และพบว่า 90 - 95% ของผู้ป่วยเสียชีวิตก่อนมาถึงโรงพยาบาล ซึ่งโรคหลอดเลือดแดงใหญ่โป่งพอง มีอยู่ 2 ตำแหน่งคือ หลอดเลือดแดงใหญ่โป่งพองในช่องท้องและในช่องอก ต้องรีบทำการรักษาด้วยการผ่าตัดอย่างเร่งด่วน