ข้อเข่า ข้อสะโพกเสื่อม แก้ไขให้ครบข้อ
อาการข้อเสื่อมมักสร้างความรำคาญให้กับผู้ป่วย มีอาการเจ็บขัด เดินลำบาก หรือกะเผลกเหมือนขาสั้นยาวไม่เท่ากัน เมื่อข้างหนึ่งเสื่อมอีกข้างมักจะเสื่อมตามมา หากผู้ป่วยได้รับการรักษาในระยะแรกอย่างถูกต้องก็มีโอกาสที่จะชะลอความเสื่อมได้
5 ทิปส์ดูแลเข่าวัยเก๋าวัยจี๊ดให้ฟิตไม่มีสะดุด
เพราะเข่าเสื่อมสามารถเกิดขึ้นได้ไม่ว่าจะอายุมากหรือน้อย เนื่องมาจากปัจจัยด้านอายุ พฤติกรรมการใช้ชีวิต พันธุกรรม การทานอาหาร รวมถึงการทานยาบางชนิด
ข้อเข่าเสื่อม ไม่ได้เป็นเฉพาะคนสูงวัย
ข้อเข่าเสื่อมเกิดจากการใช้งานข้อต่อเนื่องยาวนานจนทำให้กระดูกอ่อน ผิวข้อสึกกร่อน หากผู้ป่วยเป็นในระยะรุนแรงควรต้องพบแพทย์
ดูแลครอบคลุมทุกด้านเมื่อผ่าเข่า
ศูนย์ข้อสะโพกและข้อเข่า โรงพยาบาลกรุงเทพอินเตอร์เนชั่นแนลให้การดูแลรักษาโรคข้อสะโพกและข้อเข่าอย่างครอบคลุม
ผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม เจ็บน้อย ฟื้นตัวไว
ถ้าผิวของข้อเข่าได้รับความเสียหายอย่างรุนแรงจากการอักเสบของข้อเข่าหรือจากอุบัติเหตุอาจจำเป็นต้องรักษาโดยวิธีการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม ซึ่งเป็นการผ่าตัดผิวที่เสียหายออกแล้วใส่ผิวใหม่ที่เรียบมันซึ่งทำจากโลหะและพลาสติกเข้าไปแทน เพื่อให้เข่ากลับไปใช้งานได้ตามเดิมอีกครั้ง
ข้อเข่าเสื่อม ผ่าตัดรักษาคืนคุณภาพชีวิตที่ดี
ข้อเข่าเสื่อมอาจไม่ใช่โรคร้ายแรงถึงขั้นเสียชีวิต แต่ก็เป็นหนึ่งในความผิดปกติของร่างกายที่ทำให้หลายคนสูญเสียคุณภาพชีวิตที่ดีไป และในปัจจุบันโรคนี้ไม่ได้จำกัดอยู่ในกลุ่มผู้สูงอายุเท่านั้น
ความเชื่อผิด ๆ เกี่ยวกับการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม
ความเชื่อผิด ๆ เกี่ยวกับการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม
โภชนบำบัดหลังผ่าตัดเปลี่ยนข้อเทียม
โภชนบำบัดหลังการผ่าตัดมีความสำคัญอย่างมาก เพราะช่วยส่งเสริมการหายของบาดแผลผ่าตัด และส่งเสริมภาวะโภชนาการให้กับผู้ป่วยที่มีบาดแผลจากการผ่าตัดให้ได้รับสารอาหารในปริมาณที่เพียงพอเหมาะสม
โรคอารมณ์แปรปรวน (Bipolar Disorder)
โรคอารมณ์แปรปรวนเป็นโรคทางอารมณ์ที่สามารถแปรปรวนได้สุดขั้ว ทั้งคึกรุนแรง (Mania) และเศร้าสุด ๆ (Depress) อันอาจก่อความเสียหายมากทั้งแก่ตนเองและบุคคลอื่น ๆ สาเหตุนั้นยังไม่ทราบแน่ชัด สถิติทั่ว ๆ ไปพบอัตราการเป็นโรคนี้อยู่ที่ 1 - 2% ของประชากร
ฝังไมโครชิปกระตุ้นสมอง รักษาพาร์กินสัน
เทคโนโลยีการรักษาโรคพาร์กินสัน Deep Brain Stimulation : DBS Therapy เป็นการผ่าตัดฝังไมโครชิปกระตุ้นสมองส่วนลึก ช่วยให้ผู้ป่วยลดการใช้ยา ควบคุมการเคลื่อนไหว อาการของโรคดีขึ้น และสามารถกลับมาใช้ชีวิตประจำวันได้อีกครั้ง
ความจำเสื่อม อัลไซเมอร์ ป้องกันได้แค่หมั่นตรวจเช็ก
โรคความจำเสื่อม คนส่วนใหญ่มักไม่รู้ตัวว่าตัวเองเป็นโรคนี้ และกลัวการรักษาจนปล่อยให้โรคลุกลามเกินกว่าจะรักษา ด้วยเทคนิคการตรวจวินิจฉัยความผิดปกติของสมอง ช่วยให้รู้ผลไว ไม่เจ็บตัว ป้องกันก่อนสายไป
พาร์กินสัน กระตุ้นสมองควบคุมรักษาได้
โรคพาร์กินสันจัดอยู่ในกลุ่มความผิดปกติของระบบการเคลื่อนไหว (Movement Disorders) เกิดจากความเสื่อมของเซลล์สมองส่วนที่ผลิตสารโดพามีน ทำให้เกิดการขาดสารโดพามีนในสมองซึ่งพบบ่อยเป็นอันดับ 2 รองจากโรคอัลไซเมอร์ จากสถิติพบว่า ผู้ป่วยโรคพาร์กินสันทั่วโลกมีสัดส่วนที่ใกล้เคียงกัน คือ มีอัตราป่วย 3 ใน 1,000 คน โดยเฉพาะกลุ่มผู้ที่มีอายุเกิน 60 ปี ขณะที่ 10% ของผู้ป่วยพาร์กินสันเป็นคนในวัย 30 – 40 ปีที่มีประวัติทางพันธุกรรมมาก่อน ในประเทศไทยมีผู้ป่วยพาร์กินสันราว 1 แสนราย