ปัญหาหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทบริเวณเอวยังคงพบได้บ่อยจากพฤติกรรมการยกของหนักหรือการก้มผิดท่าจนเกิดอาการปวดเอวเฉียบพลันและร้าวลงขา
อาการปวดคอ ปวดหลัง มักพบได้บ่อยในคนทุกเพศทุกวัย โดยเฉพาะกับคนวัยทำงาน ที่ต้องนั่งทำงานเป็นเวลานาน ๆ หรือนั่งผิดท่า หลายคนเข้าใจว่าเป็นอาการของออฟฟิศซินโดรม จึงละเลยคิดว่าสามารถหายได้เอง แต่กลับกลายเป็นอาการ “ปวดคอเรื้อรัง” หรือ “ปวดหลังเรื้อรัง” จนส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน ซึ่งการรักษาแบบ Pain Intervention อาจเปลี่ยนให้คุณภาพชีวิตดีขึ้นโดยไม่จำเป็นต้องผ่าตัด
สถาบันโรคกระดูกสันหลัง มีโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยปวดหลังซึ่งได้รับการรับรองมาตรฐานจาก JCI ( Joint Commission International) โดยมีรายละเอียดดังนี้
การผ่าตัดเชื่อมกระดูกสันหลังส่วนล่าง โดยทั่วไปจะต้องผ่าตัดแบบเปิดบาดแผล, เปิดกล้ามเนื้อหลังออกเป็นช่อง และจำเป็นต้องตัดกระดูกบางส่วนเพื่อจะเข้าถึงหมอนรองกระดูกสันหลัง
โรคกระดูกทับเส้น หรือ หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท สร้างความทุกข์ทรมานให้กับผู้ป่วยด้วยอาการปวดหลัง ปวดขา และเดินได้ในระยะสั้นลงเรื่อยๆ
ปัญหาเรื่องหลังมักเป็นปัญหาเรื้อรัง โดยเฉพาะผู้ที่เป็นโรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทและผู้ที่โพรงประสาทตีบแคบทับเส้นประสาทจากความเสื่อมที่มักพบในผู้สูงอายุ
การหกล้มเป็นอุบัติเหตุอันดับต้น ๆ ที่ทำให้ผู้สูงอายุ บาดเจ็บ กระดูกหัก พิการหรือถึงขั้นเสียชีวิต 8 ไอเดียนี้จะทำให้บ้านของคุณปลอดภัยสำหรับผู้สูงวัยมากขึ้น
โรคมะเร็งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับต้น ๆ ของคนทั่วโลก พบมะเร็งปอด 1.6 ล้านคน ส่วนจํานวนผู้เสียชีวิต 7.6 ล้านคน เป็นผู้ป่วยมะเร็งปอด 1.37 ล้านคน
ตลอดวิวัฒนาการอันยาวนานในช่วง 30 ปีที่ผ่านมา มีผู้ค้นพบว่า เอ็กไซเมอร์เลเซอร์ (Excimer Laser) มีคุณสมบัติพิเศษในการปรับความโค้งบนผิวกระจกตาได้ โดยวิธีที่นิยมที่สุดเรียกว่า วิธีผ่าตัดการทำเลสิก (LASIK หรือ Laser In - Situ Keratomileusis) เพื่อรักษาภาวะสายตาผิดปกติสายตาสั้น สายตายาว และสายตาเอียงแบบถาวร
โรคหวัดเป็นโรคที่พบได้ตลอดทั้งปีและพบได้ในคนทุกเพศทุกวัย เมื่อเป็นหวัดแต่ละคนจะมีอาการแตกต่างกันอาจมีแค่เพียงบางอาการ แต่สาเหตุการเกิดโรคหวัดมาจากสาเหตุเดียวกัน คือ การติดเชื้อในทางเดินหายใจส่วนบน
เมื่ออายุเพิ่มมากขึ้น มักเกิดปัญหาเกี่ยวกับข้อตามมา ร่างกายเกิดความเสื่อม หรือมีความเสียหายเกิดขึ้นกับข้อ เช่น ข้อแตก ข้อหัก ร่างกายจะดึงแคลเซียมออกมาเพื่อไปซ่อมแซมกระดูกส่วนที่เสื่อมนั้น อาทิ บริเวณข้อต่าง ๆ รวมถึงข้อไหล่ จนเกิดเป็นหินปูนหรือแคลเซียมเกาะกระดูก ส่งผลให้กลายเป็นกระดูกงอกทับเส้นเอ็นข้อไหล่ ทำให้เกิดความเจ็บปวดทรมาน ซึ่งหากมีความผิดปกตินี้เกิดขึ้นที่บริเวณข้อไหล่ อย่าวางใจปล่อยทิ้งไว้ เพราะจะทำให้การดำเนินชีวิตประจำวันลำบากมากขึ้น ควรพบแพทย์เพื่อเร่งรักษา
ในช่วงที่มีฝุ่นจิ๋ว หรือ PM 2.5 ปริมาณมาก ฝุ่นจิ๋วนี้เมื่อผู้สูงอายุสูดหายใจเข้าไป สามารถผ่านเข้าสู่กระแสเลือดได้โดยตรงและส่งผลกระทบต่อร่างกายได้อย่างคาดไม่ถึง