การผ่าตัดไทรอยด์ด้วยกล้องเป็นการผ่าตัดไทรอยด์แบบใหม่ โดยแผลผ่าตัดจะมีขนาดเล็ก ไม่มีรอยแผลเป็น ความเจ็บปวดที่เกิดขึ้นจากการผ่าตัดน้อยกว่าการผ่าตัดด้วยวิธีปกติ
การรักษาด้วยคลื่นวิทยุเป็นการรักษาโดยการใช้คลื่นวิทยุปล่อยเข้าไปในบริเวณเนื้อเยื่อที่อุดกั้นทางเดินหายใจ ทำให้เนื้อเยื่อบริเวณที่ต้องการเกิดการหดตัวลง ทำให้ทางเดินหายใจโล่งขึ้น เสียงกรน และภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับหายไป
ภาวะเลือดกำเดาไหลในผู้ใหญ่ เลือดกำเดาที่ออกมักออกครั้งละมาก ๆ ออกทั้งทางด้านหน้าและไหลลงคอ อาจหยุดได้เองชั่วคราว แต่มักจะออกซ้ำถ้าไม่ได้รับการแก้ไขที่สาเหตุ
ต่อมไทรอยด์เป็นต่อมไร้ท่อมีลักษณะคล้ายผีเสื้ออยู่ส่วนล่างของกลางลำคอ มีหน้าที่สร้างฮอร์โมนไทรอยด์ ทำหน้าที่ในการเผาผลาญให้เกิดพลังงานเพื่อใช้ในชีวิตประจำวัน หากพบว่าต่อมไทรอยด์โต อาจทำการผ่าตัดออกเพียงข้างเดียวหรือทั้งสองข้างขึ้นอยู่กับพยาธิสภาพของต่อมไทรอยด์ อีกทั้งการผ่าตัดยังสามารถทำได้หลายวิธี
ปัญหาภาวะหยุดหายใจขณะหลับในเด็กเป็นเรื่องสำคัญที่พ่อแม่ไม่ควรละเลย ผู้ปกครองจึงควรเฝ้าสังเกต หากลูกมีพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไป ไม่ว่าจะเป็นก้าวร้าว ควบคุมอารมณ์ตนเองไม่ได้ หงุดหงิดง่าย สมาธิสั้น เป็นต้น ควรรีบเข้ารับการรักษาให้หายเพื่อจะได้ไม่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้และพัฒนาการของเด็กในอนาคต
DENTAL CAD-CAM เทคโนโลยีพิมพ์ฟันดิจิทัลที่ช่วยเพิ่มคุณภาพของงานพิมพ์ฟันและประหยัดเวลาในการรักษาของทันตแพทย์และผู้ป่วยได้เป็นอย่างดี
คุณผู้หญิงที่มีสุขภาพดี ไม่ควรมีอาการผิดปกติใด ๆ ขณะมีระดู แม้บางท่านอาจจะมีอาการปวดท้องน้อยขณะมีระดูได้บ้าง แต่ไม่ควรรุนแรงมากมายนัก
เมื่อเกิดอาการเสียงแหบ ไอ เจ็บคออาจเป็นสัญญาณเตือนว่าเกิดความผิดปกติกับกล่องเสียง ซึ่งหลายคนมักคิดว่าปล่อยไว้ก็คงหายได้เอง แต่ความจริงแล้วโรคกล่องเสียงอักเสบนั้นอาจเรื้อรังได้ถ้าไม่รีบรักษาให้หายขาด เพราะฉะนั้นการรู้เท่าทันโรคนี้จึงเป็นเรื่องสำคัญที่ทุกคนควรใส่ใจ
เมื่อเข้าใกล้ระยะคลอด นั่นคือ 37 สัปดาห์ เป็นต้นไป คุณแม่จะรู้สึกว่าท้องลดต่ำลง เนื่องจากศีรษะเด็กจะเคลื่อนต่ำลงสู่ช่องเชิงกราน ขณะเดียวกันจะรู้สึกปวดถ่วงในอุ้งเชิงกราน ท้องเกร็งแข็งบ่อยขึ้น ๆ ปัสสาวะบ่อย เท้าจะบวม ลุกนั่งลำบาก เป็นตะคริวที่ขาบ่อยขึ้น การเตรียมพร้อมก่อนการคลอดจึงเป็นเรื่องสำคัญ
โรคข้อสะโพกตายจากการขาดเลือดจำเป็นที่จะต้องผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพก ซึ่งการผ่าตัดแนวใหม่ ผ่าตัดเข้าจากด้านหน้าข้อสะโพก (Direct Anterior Approach) ช่วยให้ฟื้นตัวเร็วกว่าเดิมมาก
หลังคลอดคุณแม่จะรู้สึกว่าน้ำหนักเพิ่มขึ้นมากกว่าปกติ การบริหารด้วยท่าต่าง ๆจะช่วยให้ร่างกายกลับสู่สภาพเดิม ควรเริ่มบริหารร่างกายหลังคลอดแล้วประมาณ 6 สัปดาห์ โดยรอให้ร่างกายแข็งแรงและก่อนบริหารควรได้รับคำแนะนำจากแพทย์
การปฏิบัติตัวของคุณแม่ในระยะหลังคลอด อวัยวะต่าง ๆ ที่มีการเปลี่ยนแปลงตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์จะเริ่มกลับคืนมาสู่สภาวะปกติ แต่การเปลี่ยนแปลงบางอย่างก็ไม่สามารถเปลี่ยนกลับไปเหมือนเดิมได้ การเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ หลังคลอดใช้เวลาประมาณ 6 สัปดาห์จึงจะหยุดการเปลี่ยนแปลง