เมื่ออายุเพิ่มขึ้นการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนค่อย ๆ ลดลงไป เพศชายเกิดการเปลี่ยนแปลงไม่ต่างจากผู้หญิงวัยหมดประจำเดือน โดยเฉพาะความผิดปกติของต่อมลูกหมาก ผู้ชายไทยเป็นกันมาก อันดับ 1 ที่พบคือโรคต่อมลูกหมากมากถึง 80% การสังเกตความผิดปกติและรีบเข้ารับการรักษาโดยเร็วจะช่วยให้อาการไม่รุนแรงเพิ่มขึ้น
ภาวะการไหลย้อนที่กระเพาะอาหารเกิดจากสิ่งที่อยู่ในกระเพาะอาหารไหลย้อนกลับขึ้นไปที่หลอดอาหารในระหว่างหรือหลังการรับประทานอาหาร
โรคต่อมลูกหมากโต (BPH) พบได้ตั้งแต่อายุ 40 ปีขึ้นไป ยิ่งอายุมากขึ้นก็ยิ่งพบได้มากขึ้น สิ่งผิดปกติที่เกี่ยวเนื่องและเกิดขึ้นกับระบบทางเดินปัสสาวะเป็นความเสี่ยงที่ไม่ควรมองข้าม ไม่ว่าจะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ หย่อนสมรรถภาพทางเพศ ไปจนถึงโรคที่ส่งผลกระทบต่อต่อมลูกหมากสามารถรักษาโดยการผ่าตัดต่อมลูกหมากด้วยการส่องกล้อง
หากมีอาการของโรคกรดไหลย้อน (GERD) และใช้ยามานานกว่า 2 สัปดาห์แล้วยังไม่ดีขึ้น ต้องพบแพทย์ผู้ชำนาญการระบบทางเดินอาหารและลำไส้ การรักษาจะต้องรวมถึงการปรับพฤติกรรมประจำวัน เช่น การออกกำลังกาย การรับประทานอาหาร นอกเหนือจากการใช้ยาหรือการผ่าตัดซึ่งเป็นทางเลือกระดับสุดท้าย
จากการสำรวจในประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ. 2547 ชายไทยทั่วประเทศ อายุ 40 - 70 ปี จำนวน 1,250 ราย พบว่า มีชายไทยมีอาการหย่อนสมรรถภาพทางเพศร้อยละ 43 และมีการคาดการณ์ว่าจำนวนเพศชายที่หย่อนสมรรถภาพทางเพศจะเพิ่มเป็น 170 ล้านคน ในปี 2568 เพราะฉะนั้นภาวะหย่อนสมรรถภาพทางเพศจึงเป็นเรื่องที่ไม่ควรมองข้าม
ไขมันเกาะตับเป็นโรคตับที่พบบ่อยในชาวเอเชียและคนไทย ปัจจุบันยังพบภาวะไขมันสะสมในตับหรือไขมันเกาะตับในผู้ป่วยชาวไทยเพิ่มขึ้น ปัจจุบันมีเครื่องวัดความยืดหยุ่นของตับ Fibroscan with CAP (Controlled Attenuation Parameter) ช่วยให้แพทย์วินิจฉัยและคัดกรองกลุ่มเสี่ยงได้อย่างมีประสิทธิภาพ
โรคน้ำย่อยกระเพาะอาหารไหลย้อนเข้าสู่หลอดคอ (LPR) คือ โรคที่เกิดจากการที่น้ำย่อยจากกระเพาะอาหารไหลย้อนเข้าไปในหลอดอาหารจนถึงลำคอและกล่องเสียง ระยะเวลาในการรักษาโรคขึ้นอยู่กับผู้ป่วยแต่ละราย ส่วนใหญ่จะพบว่ามีอาการดีขึ้นในระยะ 2 สัปดาห์ โรคนี้อาจจะมีการกลับมาเป็นซ้ำได้อีก
การตรวจภาวะการไหลย้อนที่กระเพาะอาหารควรพบอายุรแพทย์หรือแพทย์ผู้ชำนาญการด้านระบบทางเดินอาหารเพื่อสอบถามและตรวจอาการให้แน่ใจว่าเกิดจากภาวะไหลย้อน วิธีการตรวจทดสอบสามารถตรวจปัญหาของหลอดอาหาร กระเพาะอาหาร และลำไส้เล็ก
การรักษาภาวะกรดไหลย้อนขึ้นอยู่กับอาการและอายุของผู้ป่วย แพทย์อาจแนะนำให้ทานยาเพื่อลดปริมาณกรดในกระเพาะอาหารเบื้องต้น
GERD คือ เกิดจากความผิดปกติในการปิดเปิดของหูรูดระหว่างหลอดอาหารและกระเพาะอาหารทำให้กรดหรือน้ำย่อยจากกระเพาะอาหารไหลย้อนเข้าสู่หลอดอาหารพร้อมกับอาหารที่ทานเข้าไป การจะสรุปว่าเป็นโรค GERD นั้นจะต้องเป็นภาวะที่มีมานานต่อเนื่องคงที่และเกิดขึ้นมากกว่า 2 ครั้งใน 1 สัปดาห์ จนทำให้เกิดอาการเจ็บป่วย
ปกติทารกในขวบปีแรกจะมีภาวะไหลย้อนกลับในระดับปกติ (GER) ถึงแม้ว่าจะมีอาเจียนในบางครั้ง ยกเว้นถ้าทารกมีอาการเป็นเวลานานเกิน 1 ปี ให้ตั้งข้อสงสัยว่าอาจจะเป็นโรค GERD ได้ สิ่งที่ยากและสำคัญที่สุดคือ การวินิจฉัยและระบุว่าเด็กเป็นโรคกรดไหลย้อนหรือไม่
เมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุร่างกายย่อมเสื่อมลงไปตามกาลเวลา ซึ่งแต่ละคนจะเปลี่ยนแปลงไม่เท่ากัน ด้วยปัจจัยที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นกรรมพันธุ์ โรคหรือความเจ็บป่วย ตลอดจนพฤติกรรมการใช้ชีวิต ทั้งอาหาร อาชีพ ความเครียด การนอนหลับพักผ่อน การออกกำลังกาย เพราะฉะนั้นการรู้ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากความเสื่อมจึงเป็นเรื่องสำคัญที่ควรใส่ใจเพื่อจะได้ดูแลตัวเองอย่างถูกต้อง