นพ. ธำรงโรจน์ เต็มอุดม

ศัลยศาสตร์
ศัลยศาสตร์หลอดเลือด
Doctor Image
Doctor Info Icon
ความชำนาญเฉพาะทางสาขา
ศัลยศาสตร์
Doctor Info Icon
อนุสาขา
ศัลยศาสตร์หลอดเลือด
Doctor Info Icon
ภาษา
ไทย, อังกฤษ

การศึกษา

2547
ศัลยศาสตร์หลอดเลือดแพทยสภา
2541
ศัลยศาสตร์หลอดเลือดRoyal College of Physicians and Surgeons of Canada, Canada
2541
Vascular SurgeryMount Sanai School of Medicine of New York University, United States
2540
ศัลยศาสตร์Royal College of Physicians and Surgeons of Canada, Canada
2540
SurgeryMayo Medical School and Mayo Clinic, United States
2535
ศัลยศาสตร์วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า
2531
แพทยศาสตรบัณฑิต (พ.บ.)วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า

Loading Schedule..

บทความที่เกี่ยวข้อง

Doctor article image
ภาวะหลอดเลือดดำบกพร่องเรื้อรัง (CVI) รีบรักษาก่อนลุกลามเกินเยียวยา

ภาวะหลอดเลือดดำบกพร่องเรื้อรังเกิดจากความเสื่อมสภาพของผนังหลอดเลือดดำและลิ้นภายในหลอดเลือด ทำให้ระบบที่ควบคุมให้เลือดดำไหลกลับเข้าสู่หัวใจเสียไป เลือดจะคั่งในหลอดเลือดดำบริเวณส่วนล่างของร่างกาย ระยะแรกจะมีอาการบวม เป็น ๆ หาย ๆ ที่เท้า ข้อเท้า และขา ตามมาด้วยความเสื่อมเนื้อเยื่อจนเกิดแผลเรื้อรังในระยะยาว

Doctor article image
พอร์ตเคมีบำบัด ลดความบอบช้ำ เส้นเลือดไม่เปราะแตก

ผู้ป่วยที่จำเป็นจะต้องให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ โดยเฉพาะผู้ป่วยมะเร็งที่ต้องได้รับยาเคมีบำบัดจะมีการตรวจเลือดและให้ยาเป็นระยะเวลานาน ปัญหาที่มักพบคือ เส้นเลือดแข็ง แห้ง อักเสบ เจาะเลือดลำบาก พอร์ตเคมีบำบัดเป็นอุปกรณ์ที่ออกแบบขึ้นเพื่อช่วยให้การเจาะเลือดและการให้ยาเคมีบำบัดทำได้สะดวก ส่งผลให้การรักษาราบรื่น ทั้งยังช่วยลดความเสี่ยงจากภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ผู้ป่วยสามารถมีกิจวัตรประจำวันได้ตามปกติ มีคุณภาพชีวิตที่ดี ลดความเจ็บปวด และลดค่าใช้จ่ายในการพักรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาล

Doctor article image
ปวดขา สัญญาณเตือนหลอดเลือดส่วนปลายตีบ

โรคหลอดเลือดแดงอุดตันถือเป็นภัยเงียบที่คุกคามชีวิต นั่นเพราะส่วนใหญ่แล้วการดำเนินโรคเป็นแบบเรื้อรัง ทำให้ผู้ป่วยขาดความใส่ใจ กว่าจะรู้ตัวอีกทีก็เป็นมากแล้ว หากมีอาการปวดขา โดยเฉพาะเดินแล้วปวด อย่านิ่งนอนใจ ควรพบแพทย์เพื่อเข้ารับการตรวจสุขภาพหลอดเลือด (Early Detection of Peripheral Arterial Disease - PAD) เพื่อป้องกันความเสี่ยงการเป็นแผลขาดเลือดเรื้อรังหรือสูญเสียอวัยวะ

นพ. ธำรงโรจน์ เต็มอุดม