พญ. ณิรัชดา ทรัพย์อนันต์
แพทย์ชำนาญการรักษาภาวะผิดปกติทางสมอง วินิจฉัยการทำงานของสมองขณะตื่นและหลับ เพื่อการดูแลรักษาสมองระยะยาว
ศูนย์และคลินิก
ความชำนาญเฉพาะทางสาขา
อนุสาขา
อายุรศาสตร์การนอนหลับภาษา
ไทย, อังกฤษการรักษา และ
การบริการ
การศึกษา
2564
อายุรศาสตร์การนอนหลับแพทยสภา2558
Sleep MedicineCleveland Clinic Education Foundation, United States2557
โรคลมชักจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย2557
Epilepsy and Clinical NeurophysiologyCase Western Reserve University & University Hospital Case Medical Center, United States2554
โรคลมชักจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย2553
ประสาทวิทยามหาวิทยาลัยเชียงใหม่2546
แพทยศาสตรบัณฑิต (พ.บ.)มหาวิทยาลัยเชียงใหม่การศึกษาอบรมเพิ่มเติม
2559
โรคจากการหลับสมาคมโรคจากการหลับแห่งประเทศไทยLoading Schedule..
บทความที่เกี่ยวข้อง
เทคโนโลยีแก้ทุกปัญหาการนอน
ผู้ที่มีปัญหาเรื่องนอนหลับไม่สนิท นอนกรน และหายใจผิดปกติมีผลกระทบต่อคุณภาพการนอน การรักษามีหลายวิธี ได้แก่ การใช้ยา การใช้เครื่องช่วยหายใจชนิดแรงดันบวกหรืออุปกรณ์เสริมเพื่อเปิดช่องคอและหรือช่องจมูก และการผ่าตัด
นอนหลับดีเสริมการทำงานของสมอง
การทำงานของสมองในชีวิตประจำวันต้องคิดและตอบสนองหลายอย่าง สมองจำเป็นต้องได้รับพลังงานอย่างเพียงพอ แต่ยิ่งตื่นอยู่นานแค่ไหน พลังงานของสมองจะค่อย ๆ ลดลงมากเท่านั้น
นอนหลับอย่างไรให้สมองสดใสหลังตื่น
เพราะการนอนหลับมีความสำคัญกับชีวิตและมีความสัมพันธ์กับการสะสมพลังงาน การสร้างสมดุลให้ทุกระบบของร่างกาย ดังนั้นการนอนหลับให้ดีไม่เพียงช่วยให้สมองแข็งแรง แต่ช่วยให้สมองได้ทำความสะอาดไปในตัวด้วย
นอนหลับผิดปกติเสี่ยงต่อชีวิต
คนไข้ที่มีปัญหาหยุดหายใจขณะหลับจะมีโอกาสเป็นความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ ไขมันในเลือดสูง เบาหวาน กรดไหลย้อน และหลอดเลือดสมองเพิ่มขึ้น