นพ. ระพินทร์ กุกเรยา

อายุรศาสตร์
อายุรศาสตร์โรคหัวใจ
Doctor Image
Doctor Info Icon
ความชำนาญเฉพาะทางสาขา
อายุรศาสตร์
Doctor Info Icon
อนุสาขา
อายุรศาสตร์โรคหัวใจ
Doctor Info Icon
ภาษา
ไทย, อังกฤษ

การรักษา และ
การบริการ

โรคหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
โรคหลอดเลือดหัวใจเรื้อรัง
การเปลี่ยนลิ้นหัวใจเอออร์ติกโดยสายสวนแบบไม่ต้องผ่าตัด
ดูเพิ่มเติม

การศึกษา

2553
หัตถการปฏิบัติรักษาโรคหัวใจและหลอดเลือดราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย
2534
Master of Scienceจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2534
อายุรศาสตร์โรคหัวใจจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2532
อายุรศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2525
The Diploma in tropical Medicine and Hygieneมหาวิทยาลัยมหิดล

การศึกษาอบรมเพิ่มเติม

2562
Euro PCREACCME (European Accreditation Council for Continueing Medicine Education, ฝรั่งเศส
2561
Acute Myocardial Infarction PathwayBangkok Hospital Medical Center
2561
CardiovascularEACCME (European Accreditation Council for Continueing Medicine Education, เยอรมนี
2553
Transcatheter Cardiovascular TherapeuticsThe Cardiovascular Research Foundation, สหรัฐอเมริกา
2550
Moderate SedationBangkok Hospital Medical Center
2550
BMC Strategy & DirectionBangkok Hospital Medical Center
2549
JCI Overview for N-1Bangkok Hospital Medical Center
2545
Basic EKGBangkok Hospital Medical Center

Loading Schedule..

บทความที่เกี่ยวข้อง

Doctor article image
คุณแม่กับโรคหัวใจรูห์มาติกขณะตั้งครรภ์

ในแต่ละปีโรคลิ้นหัวใจผิดปกติเนื่องจากไข้รูห์มาติกเป็นสาเหตุการเสียชีวิตประมาณ 1.5% ของสาเหตุการเสียชีวิตทั้งหมดของคนไทย ซึ่งโรคนี้มักไม่ค่อยแสดงอาการในระยะแรก เนื่องจากเป็นผลต่อเนื่องจากการติดเชื้อ Streptococcus ตั้งแต่ในวัยเด็ก โดยเฉพาะคุณแม่ตั้งครรภ์นั้นอาจไม่สามารถรักษาทารกในครรภ์ไว้ได้

Doctor article image
TAVI ซ่อมหรือเปลี่ยนลิ้นหัวใจแบบไม่ต้องผ่าตัดเปิดหน้าอก

หัวใจเป็นอวัยวะที่ต้องดูแลให้ดี เพราะความผิดปกติอาจซ่อนอยู่ และแสดงอาการเมื่ออายุมากขึ้น ทุกอย่างเสื่อมลง โรงพยาบาลหัวใจกรุงเทพเผยเทคนิคการซ่อมหรือเปลี่ยนลิ้นหัวใจแบบไม่ต้องผ่าตัดเปิดหน้าอก (TAVI/TAVR) เพื่อผู้ป่วยสูงวัยที่มีอัตราความเสี่ยงในการรักษาสูง กลับมาใช้ชีวิตได้อย่างมั่นใจอีกครั้ง

Doctor article image
เปลี่ยนลิ้นหัวใจเอออร์ติกเสื่อมด้วยเทคนิคสายสวน

ปัจจุบันพบผู้ป่วยโรคลิ้นหัวใจเสื่อมเพิ่มมากขึ้น ส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุที่ลิ้นหัวใจใช้มานานมาก ย่อมมีความเสื่อมตามวัย หรือในบางรายลิ้นหัวใจอาจถูกเร่งให้เสื่อมจากโรคเรื้อรังต่าง ๆ อาทิ ความดันโลหิตสูง ไขมันในเส้นเลือด รวมถึงพฤติกรรมเสี่ยง เช่น การสูบบุหรี่

Doctor article image
กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน รีบรักษาทัน โอกาสรอดสูง

หากคุณกำลังทำกิจกรรมประจำวันแล้วเกิดเจ็บหน้าอกนาน แน่น หายใจไม่ออก หรือรู้สึกเจ็บหน้าอกเวลาออกกำลังกายหรือออกแรงทำกิจกรรมหนัก ๆ ที่ไม่เคยทำมาก่อน จนรู้สึกร้าวไปที่ไหล่ ใจสั่น บางรายอาจมีอาการคลื่นไส้ เหงื่อออก หัวใจเต้นแรงผิดปกติ ควรรีบพบแพทย์ในทันที เพราะถ้าถึงมือหมอไม่ทันเวลา อาจอันตรายถึงชีวิตได้

นพ. ระพินทร์ กุกเรยา