พญ. สรินดา เลิศบรรณพงษ์

ศัลยแพทย์หญิงผ่าตัดลำไส้ใหญ่และทวารหนักรักษาริดสีดวงเลเซอร์ เป็นที่นิยมในคนไข้ผู้หญิง ด้วยความไว้ใจ

ศัลยศาสตร์ลำไส้ใหญ่และทวารหนัก
Doctor Image
Doctor Info Icon
ความชำนาญเฉพาะทางสาขา
ศัลยศาสตร์
Doctor Info Icon
อนุสาขา
ศัลยศาสตร์ลำไส้ใหญ่และทวารหนัก
Doctor Info Icon
ภาษา
ไทย, อังกฤษ

การรักษา และ
การบริการ

มะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก
ริดสีดวงในผู้หญิง
ติ่งเนื้อที่ก้น
ซีสต์ที่ร่องก้น ขาหนีบ
ผ่าต้ดส่องกล้องลำไส้ใหญ่และทวารหนัก
รักษาก้อนที่ทวารหนัก
รักษาโรคท้องผูก
อาการเจ็บก้น
ถ่ายเป็นเลือด
คันรูทวารหนัก
รักษาริดสีดวงด้วยเลเซอร์
ดูเพิ่มเติม

การศึกษา

2564
ศัลยศาสตร์ลำไส้ใหญ่และทวารหนักคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
2564
ศัลยศาสตร์ลำไส้ใหญ่และทวารหนักคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
2561
ศัลยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
2561
ศัลยศาสตร์คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี

Loading Schedule..

บทความที่เกี่ยวข้อง

Doctor article image
เย็บผูกเส้นเลือดริดสีดวง (THD) รักษาได้ไม่ต้องผ่า

เทคนิคใหม่ในการรักษาริดสีดวงแบบไม่ผ่าตัด คือ วิธีเย็บผูกเส้นเลือดริดสีดวง (Transanal Hemorrhoidal Dearterialization - THD) อีกหนึ่งทางเลือกในการรักษาที่นอกจากไม่ต้องผ่าตัด ยังเจ็บน้อย ช่วยลดภาวะแทรกซ้อน และโอกาสกลับมาเป็นซ้ำ

Doctor article image
อย่าปล่อยให้เลือดคั่งจนริดสีดวงแตก

ริดสีดวงเกิดจากหลอดเลือดดำบริเวณทวารหนักโป่ง พอง โดยแบ่งออกเป็นริดสีดวงทวารภายใน และริดสีดวงทวารภายนอก หากขับถ่ายแล้วเลือดไหลไม่หยุด มีปริมาณมาก หรือมีอาการปวดทวารหนักร่วมด้วย อาจบ่งบอกว่าริดสีดวงแตก ต้องรีบพบแพทย์โดยเร็ว

Doctor article image
อาการถ่ายเป็นเลือด อาจเสี่ยงริดสีดวงหรือมะเร็งลำไส้ใหญ่ส่วนปลาย

หากขับถ่ายแล้วมีเลือดออก หลายคนมักคิดว่าเป็นโรคริดสีดวงทวาร ไม่ทันคาดคิดว่าอาจเป็นสัญญาณเตือนของเนื้องอกหรือโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ส่วนปลาย ทั้งที่บางอาการอาจมีความคล้ายคลึงกัน ดังนั้นควรหมั่นสังเกตและไม่ควรชะล่าใจในการเข้ารับการตรวจวินิจฉัยกับแพทย์เพื่อทำการรักษาได้ถูกวิธีก่อนสายเกินแก้ 

Doctor article image
เนื้องอกลำไส้ตรง รักษาอย่างไร? ไม่ต้องมีถุงหน้าท้อง

เนื้องอกลำไส้ส่วนตรง (ลำไส้ใหญ่ส่วนปลาย) คือ การเกิดก้อนขึ้นในตำแหน่งของลำไส้ใหญ่ส่วนปลาย ซึ่งในบางกรณีก้อนอาจมีตำแหน่งใกล้กับทวารหนัก (Anal Canal) ส่งผลให้การรักษามีความซับซ้อน และต้องอาศัยความชำนาญของทีมแพทย์ผู้ให้การรักษามากขึ้นเป็นพิเศษ 

พญ. สรินดา เลิศบรรณพงษ์