เครียดนักก็พักหน่อย ด้วยการฝึก MINDFULNESS ฝึกสติให้แข็งแรง พร้อมที่จะรับมือกับสิ่งต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นในช่วงวิกฤติโควิด-19 กับ คุณรชต ถนอมกิตติ นักจิตวิทยาพัฒนาการ ศูนย์จิตรักษ์ โรงพยาบาลกรุงเทพ
หลายคนกังวลว่าตัวเองจะติดเชื้อหรือไม่ หรืออยู่ระหว่างการรอเตียง หรือเข้าพักรักษาตัวอยู่โรงพยาบาลแล้วเครียด
ช่วง COVID-19 มีคู่รักหลายคู่กลับประสบปัญหาขัดแย้งจนเครียดและเริ่มมีความคิดที่จะยุติความสัมพันธ์ ซึ่งไม่ได้เกิดขึ้นแค่ที่ใดที่หนึ่งแต่กำลังเกิดขึ้นทั่วโลก
ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ผู้คนมีปฏิกิริยาที่แตกต่างกันออกไปในการรับมือกับความเครียด
เราจะช่วยกันรับมือ ดูแลจิตใจ และผ่านวิกฤตินี้ไปด้วยกันได้อย่างไร กับการจัดการความเครียดเพื่อรับมือ COVID-19 อย่างถูกวิธีที่จิตแพทย์อยากแนะนำ
ในร่างกายมีฮอร์โมนหลายต่อหลายตัวทำงานร่วมกันอย่างเป็นระบบในแต่ละขั้นตอนของความรัก
นักดื่มจำนวนมากยอมรับว่าเคยพยายามลดและเลิกดื่มแอลกอฮอล์ แต่ล้มเหลวไม่ประสบความสำเร็จจนในที่สุดอาจล้มเลิกความพยายามที่จะเลิกดื่ม มาวัดระดับความพร้อมในการเลิกเหล้าและเลิกดื่มเหล้ากันดีกว่า
หากคุณดื่มเหล้ามากกว่าที่กำหนดและอยากจะลดปริมาณการดื่มลงให้อยู่ในปริมาณที่จะไม่ก่อให้เกิดอันตราย บันได 6 ขั้นต่อไปนี้ช่วยให้คุณลดและเลิกได้ในที่สุด
แบบทดสอบด้านสุขภาพจิตจากกรมสุขภาพจิต
แบบทดสอบว่าคุณดื่มมากเกินไปแล้วหรือเปล่า
ภาวะที่เรียกว่า Empty Nest Syndrome หรือภาวะรังที่ว่างเปล่า จะรู้สึกเหงา เศร้า เสียใจจากสาเหตุเมื่อลูกโตขึ้นและต้องออกจากบ้านไปใช้ชีวิตด้วยตัวเอง การเปลี่ยนแปลงที่มากและปรับตัวไม่ทันอาจทำให้เกิดความเครียดและวิตกกังวล อันเป็นสาเหตุหนึ่งที่นำไปสู่โรคซึมเศร้า และอาจร้ายแรงที่สุดคือการฆ่าตัวตาย
Burnout Syndrome หรือ ภาวะหมดไฟในการทำงาน เป็นโรคที่เป็นผลจากการความเครียดเรื้อรังในสถานที่ทำงาน ควรได้รับการดูแลจากแพทย์เฉพาะทางก่อนจะรุนแรงและคุกคามการใช้ชีวิต เพราะฉะนั้นการหมั่นสังเกตสัญญาณเตือนและรู้เท่าทันโรคนี้จะช่วยให้รับมือได้อย่างถูกวิธีก่อนสายเกินไป