หมอนรองกระดูกสันหลังทับเส้นประสาทเป็นโรคของความเสื่อมอย่างหนึ่ง ปัจจุบันมีการพัฒนาเทคโนโลยีการรักษา คือ การผ่าตัดหมอนรองกระดูกผ่านกล้อง Microscope กำลังขยายสูง และการผ่าตัดผ่านกล้อง Endoscope
อาการปวดหลังเรื้อรัง เป็นอาการที่สามารถเกิดขึ้นได้โดยทั่วไป ทั้งอาการปวดหลังเฉียบพัน อาการปวดร้าวลงขาแบบเฉียบพลัน แต่นับว่ายังโชคดีที่กว่าร้อยละ 70 ของอาการปวดหลังในบุคคลทั่วไปสามารถทุเลาได้เองภายใน 2 สัปดาห์ และมากกว่าร้อยละ 90 ที่สามารถทุเลาได้เองภายใน 4 – 6 สัปดาห์
หลายคนคงเคยทรมานกับอาการปวดหลังร้าวลงขา ไปถึงน่องหรือหลังเท้าข้างใดข้างหนึ่ง บางคนเจ็บข้อพับเข่าด้านหลัง ปวดน่อง นิ้วเท้าชาหลังเล่นกีฬาแล้วเข้าใจผิดคิดว่ากล้ามเนื้ออักเสบ แต่เมื่อตรวจอย่างละเอียดด้วย MRI แล้วพบว่าเป็นโรคกระดูกสันหลังทับเส้นประสาท
โรคกระดูกสันหลังสามารถรักษาแบบ Intervention วินิจฉัยหาสาเหตุของอาการปวดที่แท้จริง โดยมีเทคนิคการรักษาอาการปวดแบบไม่ต้องผ่าตัดด้วยการฉีดยาหรือจี้บริเวณต้นตอที่เป็นสาเหตุของอาการปวด
กระดูกสันหลังทับเส้นประสาทเป็นปัญหาที่พบได้บ่อย การรักษามีหลายวิธี ซึ่งแตกต่างกันไปในแต่ละคน ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัยเข้ามาเกี่ยวข้อง ไม่จำเป็นต้องผ่าตัดเสมอไป
การผ่าตัดกระดูกสันหลังแบบแผลเล็ก MIS Spine ทำได้ทุกโรคที่มีข้อบ่งชี้ว่าต้องผ่าตัด ซึ่งการผ่าตัดแผลเล็กได้เปรียบด้านการซ่อมแซมแผล การเปิดการปิดบาดแผลจะใช้เวลาน้อยกว่ามาก
ปัญหาหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทบริเวณเอวยังคงพบได้บ่อยจากพฤติกรรมการยกของหนักหรือการก้มผิดท่าจนเกิดอาการปวดเอวเฉียบพลันและร้าวลงขา
อาการปวดคอ ปวดหลัง มักพบได้บ่อยในคนทุกเพศทุกวัย โดยเฉพาะกับคนวัยทำงาน ที่ต้องนั่งทำงานเป็นเวลานาน ๆ หรือนั่งผิดท่า หลายคนเข้าใจว่าเป็นอาการของออฟฟิศซินโดรม จึงละเลยคิดว่าสามารถหายได้เอง แต่กลับกลายเป็นอาการ “ปวดคอเรื้อรัง” หรือ “ปวดหลังเรื้อรัง” จนส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน ซึ่งการรักษาแบบ Pain Intervention อาจเปลี่ยนให้คุณภาพชีวิตดีขึ้นโดยไม่จำเป็นต้องผ่าตัด
สถาบันโรคกระดูกสันหลัง มีโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยปวดหลังซึ่งได้รับการรับรองมาตรฐานจาก JCI ( Joint Commission International) โดยมีรายละเอียดดังนี้
การผ่าตัดเชื่อมกระดูกสันหลังส่วนล่าง โดยทั่วไปจะต้องผ่าตัดแบบเปิดบาดแผล, เปิดกล้ามเนื้อหลังออกเป็นช่อง และจำเป็นต้องตัดกระดูกบางส่วนเพื่อจะเข้าถึงหมอนรองกระดูกสันหลัง
โรคกระดูกทับเส้น หรือ หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท สร้างความทุกข์ทรมานให้กับผู้ป่วยด้วยอาการปวดหลัง ปวดขา และเดินได้ในระยะสั้นลงเรื่อยๆ
ปัญหาเรื่องหลังมักเป็นปัญหาเรื้อรัง โดยเฉพาะผู้ที่เป็นโรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทและผู้ที่โพรงประสาทตีบแคบทับเส้นประสาทจากความเสื่อมที่มักพบในผู้สูงอายุ