โปรแกรมกายภาพก่อนผ่าตัด TOTAL KNEE REPLACEMENT ข้อสำคัญที่ต้องคำนึงถึงคือห้ามกลั้นหายใจขณะออกกำลังกายในแต่ละท่า
แนวทางปฏิบัติเมื่อออกจากโรงพยาบาลหลังผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม คือสิ่งที่ผู้ป่วยควรใส่ใจและไม่ควรละเลยอย่างเด็ดขาด
การเตรียมตัวก่อนผ่าตัดเปลี่ยนข้อเทียมช่วยลดความกังวลและเพิ่มความพร้อมในการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเทียมได้เป็นอย่างดี
เพราะอาการปวดหลังปวดสะโพกร้าวลงขาอาจไม่ได้บ่งบอกว่าเป็นโรคกระดูกทับเส้นประสาทเสมอไป อาจเป็นอาการผิดปกติของข้อเชิงกรานบริเวณสะโพก ซึ่งหากไม่วินิจฉัยให้ถ่องแท้และรักษาผิดทางอาจนำไปสู่อาการเรื้อรังที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิต หรืออาจผ่าตัดแล้วไม่หายปวดได้ ดังนั้นการค้นหาจุดปวดที่ถูกต้องโดยแพทย์เฉพาะทางและทำการรักษาให้ถูกโรคถูกทางคือสิ่งที่จะช่วยให้การเคลื่อนไหวและคุณภาพชีวิตกลับมาดีอีกครั้ง
ภาวะกระดูกพรุนป้องกันได้ วินิจฉัยแต่เนิ่น ๆ ใส่ใจเริ่มรักษาเร็ว ช่วยชะลอหรือลดภาวะแทรกซ้อนได้ หากกระดูกหักรักษาได้ทั้งการผ่าตัดและดูแลหลังการผ่าตัดแบบองค์รวม
ปัจจุบันมีการพัฒนาแกนสะโพกเทียมรุ่นใหม่ เพิ่ม ‘เงี่ยง’ (Collar) ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการยึดเกาะข้อเทียมกับกระดูก เพิ่มความมั่นคงของข้อเทียม แก้ปัญหาข้อสะโพกจมทรุด
การวางแผนด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Digital Template) ช่วยให้วางแผนการผ่าตัดกระดูกให้ได้มุมและความหนาที่เหมาะสม ลดโอกาสเกิดเหตุที่ไม่คาดคิดในห้องผ่าตัด
เพราะข้อเข่าสำคัญในทุกการเคลื่อนไหวของชีวิต ดังนั้นหลังผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม หากเกิดการติดเชื้อจากการผ่าตัดที่ทำให้เกิดอาการปวด บวม รวมไปถึงปัญหาข้อเข่าเทียมหลวม หลุด สึก เกิดอุบัติเหตุหลังจากนั้น การผ่าตัดแก้ไขข้อเข่าเทียมแนวทางการรักษาที่ช่วยให้ผู้ป่วยกลับมาเคลื่อนไหวและใช้ชีวิตได้อย่างมีคุณภาพอีกครั้ง
โรค SLE คือโรคภูมิแพ้ตัวเอง นั่นคือภูมิต้านทานของตัวเองทำลายเนื้อเยื่อจนเกิดการอักเสบเรื้อรัง พบมากในคนอายุน้อยผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย
หากเกิดปัญหาหลังการผ่าตัดหรืออุบัติเหตุที่เกิดกับข้อสะโพกมีความรุนแรงมากอาจจำเป็นที่จะต้องผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียมเพื่อให้กลับไปเคลื่อนไหวได้อีกครั้ง
กล้ามเนื้อที่เป็นสาเหตุของอาการปวดจะมีจุดกดเจ็บ ซึ่งบางครั้งอาจคลำได้คล้ายก้อนหรือคล้ายมีเชือกที่ขึงตึงอยู่ในกล้ามเนื้อนั้น การรักษาจะต้องทำร่วมกันหลายวิธี