ภาวะกระดูกพรุนเกิดจากการขาดสมดุลระหว่างการสร้างและการสลายกระดูก ทำให้ความแข็งแรงของกระดูกลดลง หักง่าย หากไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องและทันการอาจพิการหรือเสียชีวิตได้
การปฐมพยาบาลกระดูกหักและข้อเคลื่อนต้องทำให้ถูกวิธี เพราะความรุนแรงของอุบัติเหตุอาจเป็นสาเหตุทำให้เกิดความพิการ หรือในบางรายอาจทำให้เสียชีวิตได้
ภาวะกระดูกหักเกิดได้จากหลายสาเหตุ เทคนิคการผ่าตัดยึดตรึงกระดูกแบบแผลเล็กหรือการผ่าตัดรักษากระดูกหักแบบรถไฟใต้ดินช่วยให้ผู้ป่วยกลับมาใช้ชีวิตได้ตามปกติอีกครั้ง
การผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกแนวใหม่แบบไม่ตัดกล้ามเนื้อดีอย่างไร?
เพราะอาการปวดหลังปวดสะโพกร้าวลงขาอาจไม่ได้บ่งบอกว่าเป็นโรคกระดูกทับเส้นประสาทเสมอไป อาจเป็นอาการผิดปกติของข้อเชิงกรานบริเวณสะโพก
โรคกระดูกคดในผู้สูงอายุมีสาเหตุเดียวกันคือความเสื่อมของร่างกาย โดยเฉพาะหมอนรองกระดูกของผู้สูงอายุโก่งผิดรูป ทำให้เดินหลังแอ่นเดินเอียง ควรต้องตรวจวินิจฉัยและรีบทำการรักษา
ภาวะนิ่วในถุงน้ำดีพบได้บ่อยถึง 10 - 15% โดยเฉพาะผู้หญิงวัย 40 ปีขึ้นไป ช่วงแรกอาจมีอาการไม่มาก หากปล่อยทิ้งไว้จนเกิดการอุดตันอักเสบส่งผลให้ ถุงน้ำดีอักเสบเฉียบพลัน (Acute Cholecystitis) ซึ่งเป็นภาวะฉุกเฉินที่พบได้ 20% ของผู้ป่วยที่เป็นนิ่วที่มีอาการแต่ไม่ได้รักษา
ผู้ที่มีปัญหาเรื่องนอนหลับไม่สนิท นอนกรน และหายใจผิดปกติมีผลกระทบต่อคุณภาพการนอน การรักษามีหลายวิธี ได้แก่ การใช้ยา การใช้เครื่องช่วยหายใจชนิดแรงดันบวกหรืออุปกรณ์เสริมเพื่อเปิดช่องคอและหรือช่องจมูก และการผ่าตัด
พฤติกรรมการนอนที่ผิดปกติโดยที่เราไม่รู้ตัวอาจก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพของคุณและคนใกล้ชิดได้ ผู้ชายอายุ 30 ปีขึ้นไปเสี่ยงกว่าผู้หญิง และถ้ามีปัญหาการนอนควรจะต้องมาตรวจเช็กความผิดปกติ
โรคหลอดเลือดสมองแตก ตีบ ตัน อัมพฤกษ์ อัมพาต หรือที่เรียกรวม ๆ ว่า สโตรก (Stroke) นั้นเป็นสาเหตุของความพิการและการเสียชีวิตโดยเฉพาะในผู้หญิงเป็นอันดับต้น ๆ เนื่องจากผู้หญิงมีอายุยืนกว่าจึงได้รับความทรมานจากโรคหลอดเลือดสมองมากกว่าผู้ชาย
โรคความเสื่อมของสมองที่เกิดจากการขาดสารโดพามีนพบมากในอายุ 60 ปีขึ้นไป และอาจพบในวัยกลางคนที่มีสมาชิกในครอบครัวเคยเป็นโรคนี้มาก่อน หลายคนมักเข้าใจผิดว่าเป็นอาการปกติของผู้สูงอายุ หากปล่อยไว้จนอาการรุนแรงมากขึ้นจะทำให้ร่างกายฟื้นตัวยาก
ความผิดปกติจากการนอนหลับหรือการเคลื่อนไหวผิดปกติขณะนอนหลับพบมากขึ้นเรื่อย ๆ และได้รับความสนใจอย่างกว้างขวาง ซึ่งควรได้รับการตรวจวินิจฉัยอย่างถูกต้องโดยแพทย์เฉพาะทางเพื่อค้นหาโรคซ่อนเร้น