หัวข้อ |
อินซูลินปั๊ม |
การฉีดยาแบบปกติ |
ความเจ็บจากการฉีดยา |
ลดความเจ็บจากจำนวนการใช้เข็มฉีดยาด้วยการเปลี่ยนอุปกรณ์ เพียง 3 วันครั้ง |
ต้องฉีดยาวันละ 2 – 3 เข็มต่อวัน (หรือ 6 – 9 เข็ม / 3 วัน) |
ควบคุมระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสม (HbA1c) |
ช่วยลดระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสม (HbA1c) ได้ดีกว่า |
คุมน้ำตาลได้ยากกว่า |
บริเวณที่ฉีดอินซูลิน |
ช่วยลดภาวะ Lipohypertrophy (ก้อนแข็งจากไขมันใต้ชั้นผิวหนัง) |
การฉีดยาด้วยเข็มนาน ๆ อาจเกิดภาวะ Lipohypertrophy ซึ่งจะลดการดูดซึมของอินซูลินได้ |
ความสะดวกสบาย |
ฉีดยาได้บ่อยตามอาหารที่รับประทาน ทำให้ควบคุมน้ำตาลได้ตลอดทั้งวัน |
ต้องพกอินซูลิน เข็มฉีดยา และอุปกรณ์ไปด้วยทุกครั้ง อาจไม่สะดวกในการหาสถานที่ฉีดยา และถ้าลืมค่าน้ำตาลวันนั้นอาจขึ้นสูงมาก |
ลดปริมาณยา |
เมื่อใช้อินซูลินปั๊ม หากควบคุมได้ดีแล้วแพทย์มักลดปริมาณอินซูลินและงดยากิน |
ผู้ป่วยมักรักษาร่วมทั้งยากินและยาฉีด |
ความยืดหยุ่นในการใช้ชีวิต |
ออกกำลังกาย : ไม่ต้องกังวลกับปัญหาน้ำตาลต่ำด้วยโปรแกรมการตัดอินซูลินพื้นฐานช่วงการออกกำลังกาย รับประทานอาหาร : ถ้าสามารถนับปริมาณคาร์โบไฮเดรตได้ เครื่องมีโปรแกรมอัตโนมัติช่วยคำนวณปริมาณอินซูลินที่ควรได้รับ |
ถ้ารับประทานหรือมีพฤติกรรมไม่ตรงตามปริมาณยาที่ฉีดอาจเกิดภาวะน้ำตาลต่ำหรือสูงกว่าปกติได้
|
ปัญหาน้ำตาลต่ำ |
เครื่องมีการปล่อยอินซูลินพื้นฐาน (Basal Insulin) ตลอดทั้งวัน ช่วยลดปัญหา ทำให้ค่าน้ำตาลคงที่มากยิ่งขึ้น |