พญ. สรินดา เลิศบรรณพงษ์
ศัลยแพทย์หญิงผ่าตัดลำไส้ใหญ่และทวารหนักรักษาริดสีดวงเลเซอร์ เป็นที่นิยมในคนไข้ผู้หญิง ด้วยความไว้ใจ

ความชำนาญเฉพาะทางสาขา
อนุสาขา
ศัลยศาสตร์ลำไส้ใหญ่และทวารหนักภาษา
ไทย, อังกฤษการรักษา และ
การบริการ
การศึกษา
2564
ศัลยศาสตร์ลำไส้ใหญ่และทวารหนักคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล2564
ศัลยศาสตร์ลำไส้ใหญ่และทวารหนักคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล2561
ศัลยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล2561
ศัลยศาสตร์คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี2556
แพทยศาสตรบัณฑิต (พ.บ.)โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลLoading Schedule..
บทความที่เกี่ยวข้อง

เย็บผูกเส้นเลือดริดสีดวง (THD) รักษาได้ไม่ต้องผ่า
เทคนิคใหม่ในการรักษาริดสีดวงแบบไม่ผ่าตัด คือ วิธีเย็บผูกเส้นเลือดริดสีดวง (Transanal Hemorrhoidal Dearterialization - THD) อีกหนึ่งทางเลือกในการรักษาที่นอกจากไม่ต้องผ่าตัด ยังเจ็บน้อย ช่วยลดภาวะแทรกซ้อน และโอกาสกลับมาเป็นซ้ำ

อย่าปล่อยให้เลือดคั่งจนริดสีดวงแตก
ริดสีดวงเกิดจากหลอดเลือดดำบริเวณทวารหนักโป่ง พอง โดยแบ่งออกเป็นริดสีดวงทวารภายใน และริดสีดวงทวารภายนอก หากขับถ่ายแล้วเลือดไหลไม่หยุด มีปริมาณมาก หรือมีอาการปวดทวารหนักร่วมด้วย อาจบ่งบอกว่าริดสีดวงแตก ต้องรีบพบแพทย์โดยเร็ว

อาการถ่ายเป็นเลือด อาจเสี่ยงริดสีดวงหรือมะเร็งลำไส้ใหญ่ส่วนปลาย
หากขับถ่ายแล้วมีเลือดออก หลายคนมักคิดว่าเป็นโรคริดสีดวงทวาร ไม่ทันคาดคิดว่าอาจเป็นสัญญาณเตือนของเนื้องอกหรือโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ส่วนปลาย ทั้งที่บางอาการอาจมีความคล้ายคลึงกัน ดังนั้นควรหมั่นสังเกตและไม่ควรชะล่าใจในการเข้ารับการตรวจวินิจฉัยกับแพทย์เพื่อทำการรักษาได้ถูกวิธีก่อนสายเกินแก้

เนื้องอกลำไส้ตรง รักษาอย่างไร? ไม่ต้องมีถุงหน้าท้อง
เนื้องอกลำไส้ส่วนตรง (ลำไส้ใหญ่ส่วนปลาย) คือ การเกิดก้อนขึ้นในตำแหน่งของลำไส้ใหญ่ส่วนปลาย ซึ่งในบางกรณีก้อนอาจมีตำแหน่งใกล้กับทวารหนัก (Anal Canal) ส่งผลให้การรักษามีความซับซ้อน และต้องอาศัยความชำนาญของทีมแพทย์ผู้ให้การรักษามากขึ้นเป็นพิเศษ