การศึกษา
2555
เวชศาสตร์ฟื้นฟูมหาวิทยาลัยขอนแก่น2551
แพทยศาสตรบัณฑิต (พ.บ.)มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒLoading Schedule..
บทความที่เกี่ยวข้อง
ลดอุบัติเหตุพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ
ปัจจุบันคนไทยเสียชีวิตจากการพลัดตกหกล้มสูงถึงปีละ 1,600 คน ซึ่งเป็นสาเหตุการตายอันดับ 2 ในกลุ่มของการบาดเจ็บโดยไม่ตั้งใจ (Unintentional) รองจากการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน โดย 1 ใน 3 พบว่ามักอยู่ในกลุ่มผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป และความเสี่ยงจะเพิ่มสูงขึ้นตามอายุ ซึ่งปัญหาที่พบบ่อยของผู้สูงอายุที่ได้รับอุบัติเหตุดังกล่าว คือ กระดูกสะโพกแตกหัก หรืออุบัติเหตุทางสมอง ซึ่งเป็นสาเหตุทำให้มีอัตราการความพิการและอัตราการเสียชีวิตค่อนข้างสูงมาก ซึ่งลดความเสี่ยงได้โดยอาศัยลูกหลานและคนในครอบครัวเป็นหูเป็นตาคอยดูแลอย่างใกล้ชิด
ลดอุบัติเหตุ 'พลัดตกหกล้ม' ในผู้สูงอายุ
การเกิดอุบัติเหตุในผู้สูงอายุมักมีสาเหตุจากความเสื่อมและการถดถอยของร่างกาย อีกทั้งจากโรคภัยไข้เจ็บเป็นผลให้การทำงานของอวัยวะต่าง ๆ ลดลง สำหรับอุบัติเหตุที่พบบ่อยที่สุดในผู้สูงอายุก็คือ การหกล้ม เช่น ลื่นล้มในห้องน้ำ การตกเตียง ตกบันได เป็นต้น ซึ่งมักเกิดกับผู้สูงอายุที่มีอายุระหว่าง 65 - 75 ปี
อย่าให้สูงวัยล้ม เดี๋ยวไม่ลุก
ปัญหาที่พบบ่อยของผู้สูงอายุที่ได้รับอุบัติเหตุภายในบ้าน คือ กระดูกสะโพกแตกหักและอุบัติเหตุทางสมอง ซึ่งเป็นสาเหตุทำให้มีอัตราการความพิการและอัตราการเสียชีวิตค่อนข้างสูง
10 ความเสี่ยงที่ผู้สูงอายุควรรู้
เมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุร่างกายย่อมเสื่อมลงไปตามกาลเวลา ซึ่งแต่ละคนจะเปลี่ยนแปลงไม่เท่ากัน ด้วยปัจจัยที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นกรรมพันธุ์ โรคหรือความเจ็บป่วย ตลอดจนพฤติกรรมการใช้ชีวิต ทั้งอาหาร อาชีพ ความเครียด การนอนหลับพักผ่อน การออกกำลังกาย เพราะฉะนั้นการรู้ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากความเสื่อมจึงเป็นเรื่องสำคัญที่ควรใส่ใจเพื่อจะได้ดูแลตัวเองอย่างถูกต้อง