มนุษย์มีการพัฒนาสมบูรณ์สูงสุดเมื่ออายุ 20 - 25 ปี จากนั้นประสิทธิภาพการทำงานของร่างกายและอวัยวะจะเริ่มถดถอยลง ซึ่งจะเห็นได้ชัดเจนเมื่อถึงวัยสูงอายุ ทำให้ผู้สูงอายุมีปัญหาสุขภาพทั้งร่างกาย จิตใจ และโรคต่าง ๆ ซึ่งพบได้บ่อยกว่าในวัยอื่น ๆ
แพทย์เฉพาะทางด้านผู้สูงอายุ คือ แพทย์เฉพาะทางด้านอายุรกรรมที่ผ่านการอบรมเพิ่มเติมเฉพาะด้านการดูแลรักษาผู้สูงอายุ
โดยปกติแล้วร่างกายของเราจะมีการขับเอาเม็ดเลือดแดงออกมาในน้ำปัสสาวะประมาน 1,000,000 เซลล์ต่อวัน เมื่อนำน้ำปัสสาวะไปปั่นในห้องปฏิบัติการแล้วนำไปส่องใต้
ในผู้สูงอายุมักพบการขาดวิตามินบี 12 ได้อยู่บ่อย ๆ ด้วยสาเหตุต่าง ๆ มากมาย ทำให้บางครั้งอาจเกิดอาการแสดงของการขาดวิตามินชนิดนี้ได้ ซึ่งสามารถตรวจพบได้เรื่อย ๆ จากการตรวจเช็กร่างกาย
แน่นอน คำตอบที่เกิดขึ้นอาจมีหลากหลาย แต่โดยทั่วไปแล้วการรายงานผลในลักษณะนี้ บ่อยครั้งทำให้ผู้สูงอายุตกใจอยู่ไม่น้อย กลัวว่าจะต้องฟอกไตหรือไม่ กังวลว่าสาเหตุเป็นจากอะไร ต้องทำอย่างไรต่อไป ค่าไตจะกลับมาเป็นปกติหรือไม่ จะใช้ยาอะไร ต้องกินยาล้างไตหรือไม่ ? ดังนั้นในบทความฉบับนี้เราจะมาทำความเข้าใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของการทำงานของไตเมื่อย่างเข้าสู่วัยผู้สูงอายุกันค่ะ
ภาวะการกลั้นปัสสาวะลำบาก หรือ ปัสสาวะเล็ดในผู้สูงวัยนั้น นับเป็นปัญหาที่พบมากขึ้นในสังคมปัจจุบัน โดยอาการที่เกิดขึ้นนั้นไม่สามารถควบคุมได้ ส่งผลให้เกิดความยากลำบากในการใช้ชีวิตประจำวัน และก่อให้เกิดความกังวลใจในการเข้าสังคม
ภาวะเปราะบางไม่ใช่โรค แต่นับเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญและพบบ่อยในผู้สูงอายุ ส่งผลกระทบทั้งด้านร่างกายและจิตใจ ผู้ที่มีภาวะเปราะบาง ความสามารถทางกายภาพของระบบต่าง ๆ ภายในร่างกายลดลง เพิ่มความรุนแรงของความเจ็บป่วย บกพร่องทางความคิด การเคลื่อนไหวของร่างกายลดลง ทั้งการเดินและการทรงตัวจนอาจเกิดการพลัดตกหกล้ม และเกิดภาวะพึ่งพาในที่สุด
ในช่วงที่มีฝุ่นจิ๋ว หรือ PM 2.5 ปริมาณมาก ฝุ่นจิ๋วนี้เมื่อผู้สูงอายุสูดหายใจเข้าไป สามารถผ่านเข้าสู่กระแสเลือดได้โดยตรงและส่งผลกระทบต่อร่างกายได้อย่างคาดไม่ถึง
Doctor Talk : Longevity ตรวจสุขภาพผู้สูงวัย
หลายคนคงเคยได้รับข้อความจากคุณพ่อ คุณแม่ ลุง ป้า น้า อาผ่านทาง Social Media แม้กระทั่งแชร์ข่าวสารต่าง ๆ ในยุคนี้ ผู้สูงวัยจะใช้สื่อออนไลน์ส่งผ่านความรักความห่วงใยแก่ลูกหลาน สะท้อนให้เห็นถึงอิทธิพลของสื่อออนไลน์ต่อผู้คนทุกวัย รวมถึงผู้สูงอายุ
เมื่อสูงวัยจะเกิดการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาในทุกระบบ ตั้งแต่ศีรษะจรดปลายเท้า ทำให้ผู้สูงอายุเริ่มแยกตัวออกห่างจากสังคมมากขึ้น ไม่กล้าทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่น
ภาวะขาดสารอาหารเป็นปัญหาที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ ส่งผลให้ผู้สูงอายุหกล้มง่าย มีโรคกระดูกพรุน ภูมิคุ้มกันบกพร่อง ติดเชื้อได้ง่าย นอนโรงพยาบาลนานขึ้น คุณภาพชีวิตลดลง อัตราการเสียชีวิตสูงขึ้น