ผ่าตัดผ่านกล้องรักษาเอ็นข้อไหล่ฉีกขาด
แม้การบาดเจ็บข้อไหล่ของนักกีฬาฟุตบอลหรือคนทั่วไปไม่พบมากเท่าการบาดเจ็บข้อเข่าและข้อเท้า แต่ก็พบได้เช่นกัน ดังนั้นหากบาดเจ็บรุนแรงจนเอ็นข้อไหล่ฉีกขาด สิ่งสำคัญคือพบแพทย์เพื่อทำการรักษาโดยเร็ว ซึ่งในปัจจุบันการผ่าตัดผ่านกล้องสามารถรักษาเส้นเอ็นรอบหัวไหล่ฉีกขาดให้กลับมาใช้งานได้ดีอีกครั้ง
เอ็นไขว้หน้าเข่าขาด (ACL) รีบรักษาก่อนเข่าเสื่อม
หนึ่งในอาการบาดเจ็บที่นักกีฬาฟุตบอลเป็นกันมากรองจากข้อเท้าคือ เอ็นไขว้หน้าเข่าขาด ซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้กับคนทั่วไป หากออกกำลังหรือทำกิจกรรมที่มีการเคลื่อนไหวแบบบิดหมุนตัวแล้วเกิดการเสียหลักล้ม ซึ่งการรักษาต้องใช้ระยะเวลานานหลายเดือน หากเกิดความผิดปกติหรือสงสัยว่าเอ็นไขว้หน้าเข่าขาดควรรีบปรึกษาแพทย์ทันที
ครบรอบ 6 ปีมาตรฐานความเป็นเลิศทางการแพทย์ระดับฟีฟ่า
หนึ่งในความภาคภูมิใจครั้งสำคัญของสถาบันเวชศาสตร์การกีฬาและออกกำลังกายกรุงเทพ BASEM โรงพยาบาลกรุงเทพ และคนไทยทุกคน
โปรโม - โมรียา ยอดเยี่ยมกับการคว้าแชมป์ LPGA รายการแรกในชีวิต
โปรโม - โมรียา จุฑานุกาลคว้าแชมป์ LPGA รายการแรกในชีวิตได้สำเร็จในการแข่งขันรายการ HUGEL-JTBC LA Open ประเทศสหรัฐอเมริกา ก่อนหน้าเข้าแข่งขันรายการนี้ หมอโต้ง - นพ.พรเทพ ม้ามณี ผู้อำนวยการสถาบันเวชศาสตร์การกีฬาและออกกำลังกาย (BASEM) โรงพยาบาลกรุงเทพได้ให้การดูแลอย่างใกล้ชิด
กระดูกหักปัญหาใหญ่
อุบัติเหตุทางจราจรถือเป็นปัญหาใหญ่ระดับโลกที่ทำให้เกิดภาวะกระดูกหัก กระดูกหักจึงไม่ใช่เรื่องเล็ก เพราะแม้บางทีจะไม่ร้ายแรงถึงชีวิต แต่การรักษาที่ไม่เหมาะสมอาจนำมาซึ่งความพิการถาวรได้
โรคกระดูกพรุน ภัยเงียบที่มองไม่เห็น
โรคกระดูกพรุนพบได้ทุกเพศทุกวัยและพบมากขึ้นเมื่อมีอายุมากขึ้น แต่ถ้าเรารู้ว่าอะไรเป็นปัจจัยเสี่ยงของโรคกระดูกพรุน เราจะสามารถหลีกเลี่ยงหรือแก้ไขได้ ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และช่วยป้องกันการเกิดหรือลดความรุนแรงของโรคกระดูกพรุนได้
กิจกรรมบำบัด ศูนย์จิตรักษ์ โรงพยาบาลกรุงเทพ
การดูแลบำบัดฟื้นฟูสุขภาพจิต (Psychosocial Rehabilitation) ภายในศูนย์จิตรักษ์ โรงพยาบาลกรุงเทพ ประกอบด้วยจิตบำบัดหลากหลายรูปแบบ ทั้งจิตบำบัดรายบุคคล จิตบำบัดครอบครัว คู่สมรสบำบัด โดยบุคลากรมากประสบการณ์ กิจกรรมถูกออกแบบให้ตรงตามความต้องการและความถนัดของแต่ละคน เพื่อเปิดโอกาสให้เกิดการเรียนรู้และพัฒนา ทั้งยังเติมเต็มความสุข สนุกสนาน และเสียงหัวเราะ
แนวคิดบริการด้านสุขภาพจิตสู่ความเป็นเลิศ
ในประเทศไทยและหลายประเทศมักไม่ให้ความสำคัญกับการดูแลด้านสุขภาพจิตที่เพียงพอและได้มาตรฐาน คนจำนวนมากมีอคติต่อการเจ็บป่วยทางจิตผู้ป่วยมักถูกต่อต้านและรังเกียจจากสังคม (Stigma and Discrimination) การไปรับการรักษายังถูกมองว่าเป็นเรื่องน่าอับอาย กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุขจึงมีนโยบายส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการพัฒนาการบริการด้านสุขภาพจิตและจิตเวชในโรงพยาบาล
ปรับระบบความคิด ลดวิกฤติการฆ่าตัวตาย
ปัญหาการฆ่าตัวตายไม่ใช่เรื่องใหม่ของสังคม ในปีหนึ่งจะมีผู้ฆ่าตัวตายสำเร็จทั่วโลกเป็นจำนวนมากกว่า 1 ล้านคน เมื่อคิดเฉลี่ยพบว่ามีผู้ฆ่าตัวตายสำเร็จ 1 คน ทุก 40 วินาที อีกหนึ่งปัจจัยภายในที่แฝงเร้นในร่างกายที่จะนำไปสู่หนทางมรณะของการฆ่าตัวตายโดยไม่รู้ตัวนั่นก็คือ “โรคซึมเศร้า”
เปิดบ้าน “ศูนย์จิตรักษ์ โรงพยาบาลกรุงเทพ”
เปิดบ้าน “ศูนย์จิตรักษ์ โรงพยาบาลกรุงเทพ” รองรับผู้ป่วยจิตเวช
โรคซึมเศร้า
ปัจจุบันโรคซึมเศร้าสามารถรักษาได้ด้วยการใช้ยาและการรักษาทางจิตใจ หากไม่ได้รับการรักษาอาจเกิดผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน การทำงาน และความสัมพันธ์กับคนรอบข้าง นำไปสู่ภาวะซึมเศร้าที่รุนแรงมากขึ้น เช่น มีอาการหลงผิด หูแว่ว มีความคิดทำร้ายตนเองหรือฆ่าตัวตาย
โรคอารมณ์สองขั้ว (BIPOLAR DISORDER)
โรคอารมณ์สองขั้ว คือ โรคที่มีความผิดปกติทางอารมณ์ โดยมีการเปลี่ยนแปลงของอารมณ์ระหว่างช่วงอารมณ์ซึมเศร้า (Depression) สลับกับช่วงที่อารมณ์ดีหรือหงุดหงิดมากกว่าปกติ (Mania) ระยะเวลาในแต่ละช่วงอาจอยู่เป็นสัปดาห์หรือเดือน โดยมีช่วงอารมณ์ปกติคั่นกลางได้