โรคและการรักษา

ศูนย์การรักษา

จัดเรียงตาม

สถาบันเวชศาสตร์การกีฬาและออกกำลังกาย โรงพยาบาลกรุงเทพ (BASEM)
หน้า 3 / 5
เริ่มใหม่
Article Image
เล่นฟุตบอล สุขภาพดีฟิตไปอีกนาน

การเล่นฟุตบอล มีผลต่อสุขภาพได้ดีเท่ากับ การออกกำลังกายอื่นๆ เช่น การวิ่ง การว่ายน้ำ การขี่จักรยาน แต่ที่มีดีมากกว่า คือ มีความสุข สนุกสนานกับการเล่นเป็นทีม

Article Image
โภชนาการสำหรับนักวิ่ง

นักวิ่ง นอกจากจะมีการฝึกซ้อมอย่างสม่ำเสมอแล้ว สิ่งหนึ่งที่ขาดไม่ได้และจำเป็นอย่างยิ่งคือการรับประทานอาหารที่จะช่วยให้นักวิ่งมีพละกำลังและสะสมพลังงานสำรองไว้ใช้ขณะวิ่ง รวมถึงการชดเชยพลังงาน การฟื้นฟูร่างกายภายหลังจากการวิ่ง

Article Image
เตรียมความพร้อมก่อนวิ่งมาราธอน

สิ่งแรกที่ควรระลึกไว้เสมอก่อนจะไปร่วมแข่งขันวิ่งมาราธอน คือ เราต้องรู้ก่อนว่าร่างกายของเราพร้อมหรือมีความฟิตพอที่จะวิ่งมาราธอนได้หรือไม่ และต้องเตรียมความพร้อมก่อนวิ่งมาราธอนให้ถูกวิธี

Article Image
ตะคริวขณะออกกำลังกาย

ปัญหาเรื่อง “ตะคริว” เป็นปัญหาประจำที่เชื่อว่าทุกคน ทุกครอบครัวมีประสบการณ์มากันทั้งนั้น ไม่จำเป็นต้องเกิดกับนักกีฬาหรือขณะที่มีการออกกำลังกาย แต่สามารถเกิดขึ้นกับกับคนธรรมดาได้

Article Image
การบาดเจ็บและการป้องกันในกีฬากอล์ฟ

การเล่นกอล์ฟเป็นการเล่นกีฬาที่ไม่ได้ใช้กำลังโดยตรงจัดเป็นกีฬาประเภทเทคนิค จึงทำให้ในบางครั้งนักกีฬากอล์ฟไม่ได้ให้ความสำคัญกับการฝึกฝนร่างกายเท่าที่ควร ซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิดการบาดเจ็บได้ง่าย

Article Image
กระดูกงอกทับเอ็นข้อไหล่ โรคใกล้ตัวคนวัย 50+

เมื่ออายุเพิ่มมากขึ้น มักเกิดปัญหาเกี่ยวกับข้อตามมา ร่างกายเกิดความเสื่อม หรือมีความเสียหายเกิดขึ้นกับข้อ เช่น ข้อแตก ข้อหัก ร่างกายจะดึงแคลเซียมออกมาเพื่อไปซ่อมแซมกระดูกส่วนที่เสื่อมนั้น อาทิ บริเวณข้อต่าง ๆ รวมถึงข้อไหล่ จนเกิดเป็นหินปูนหรือแคลเซียมเกาะกระดูก ส่งผลให้กลายเป็นกระดูกงอกทับเส้นเอ็นข้อไหล่ ทำให้เกิดความเจ็บปวดทรมาน ซึ่งหากมีความผิดปกตินี้เกิดขึ้นที่บริเวณข้อไหล่ อย่าวางใจปล่อยทิ้งไว้ เพราะจะทำให้การดำเนินชีวิตประจำวันลำบากมากขึ้น ควรพบแพทย์เพื่อเร่งรักษา

Article Image
5 ความเจ็บที่ไม่อยากเจอเมื่อเล่นกีฬา

อาการบาดเจ็บที่พบมากในการเล่นกีฬามักเกิดจากแรงกระแทกทั้งทางตรงและทางอ้อม การรู้เท่าทันช่วยให้รักษาความเจ็บได้ถูกต้องและทันท่วงที

Article Image
กล้ามเนื้อล้าจากการสลายไกลโคเจน

การบาดเจ็บเมื่อออกกำลังกายส่วนหนึ่งเกิดจากกล้ามเนื้อล้าจากการสลายไกลโคเจน (Glycogen Depletion) ซึ่งเป็นแหล่งพลังงานสะสมของร่างกาย การสลายไกลโคเจนจะเกิดเมื่อมีการออกกำลังกายระดับปานกลางถึงหนักเป็นเวลา 90 – 180 นาที หรือระดับหนักถึงหนักมากเป็นเวลา 15 - 30 นาที

Article Image
ตรวจสุขภาพให้พร้อมก่อนวิ่งมาราธอน

สำหรับมือใหม่ที่เพิ่งตัดสินใจออกวิ่งหรือแม้กระทั่งผู้ที่วิ่งอยู่แล้วเป็นประจำ แต่ต้องการพัฒนาศักยภาพในการวิ่งขึ้นไป อาจจะต้องการวิ่งให้ได้ระยะทางที่ยาวขึ้น หรือต้องการใช้เวลาวิ่งให้น้อยลง

Article Image
การบาดเจ็บบริเวณข้อเข่า

อาการบาดเจ็บบริเวณข้อเข่าเกิดได้บ่อยในนักกีฬาฟุตบอลรองจากข้อเท้า มักจะสร้างปัญหารุนแรงและเสียเวลารักษานานอยู่เป็นประจำ

Article Image
ฟื้นฟูร่างกายหลังบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา

ฟื้นฟูร่างกายหลังบาดเจ็บจากการเล่นกีฬาช่วยให้สามารถออกกำลังกายและเล่นกีฬาได้อย่างมีความสุข ไม่ว่าจะเป็นการออกกำลังกายเพื่อแข่งขัน หรือออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ

Article Image
จักรยานปั่นมือ (ARM ERGO - METER)

จักรยานปั่นมือเป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับการออกกำลังกายชนิดแอโรบิก (Aerobic Exercise) หลักการทำงานเหมือนกับจักรยานทั่วไปแต่ใช้มือปั่นแทนการใช้ขาปั่น การออกกำลังกายด้วยจักรยานปั่นมือจะทำในท่านั่ง มือจับคันถือแล้วออกแรงในทิศทางเดียวกับการปั่นจักรยาน